วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2552

แบบฝึกหัดบทที่ 4-5-6

แบบฝึกหัดบทที่ 4 การติดตั้งและใช้งาน Adobe Photoshop Cs3
1. ให้นักศึกษาบอกข้อดีของ adobe Photoshop Cs3
Single Column Toolber เมนูนี้เปลี่ยนไปจากCS2 คือมี 2 แถวในเวอร์ชั่น 3 เหลือ แถวเดียว นับว่าประหยัดพื้นที่ Quick Selection เป็นเครื่องมือการเลือกที่ดีที่สุดเท่าที่เคยมีมาBlack and White ให้ในการเปลี่ยนภาพของคุณให้เป็นโทนขาวดำ ที่ดีขึ้นกว่าเดิมAuto Align และ Auto Blend ช่วยจัดเรียงภาพของคุณที่ใกล้เคียงให้โดยอัตโนมัติBridge ที่พัฒนาใหม่ให้ไฉไลยิ่งขึ้นแตกต่างจากเวอร์ชั่นจากหน้ามือเป็นหลังมือ
2. ให้นักศึกษาบอกความหมายของเครื่องมือใน Adobe photoshopCS3

1. Move Tool ใช้ในการเลื่อน Layer และ Guide ต่างๆ
2. Marques Tool ใช้ในการเลื่อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า วงกลม
3. Lasso ใช้ในการเลือกแบบอิสระ
4. Magic Wand tool ใช้ในการเลือกโดยอาศัยความสว่างและโทนสี
5 Crop Tool .ใช้ในการเลือกบางส่วนของรูปภาพ
6. Slice Tool ใช้ในการสร้าง Slice หรือรูปย่อยๆ
7. Healing Brush Tool ใช้ในการระบายสี ซ่อมแซมรูปภาพให้สมบูรณ์
8. Brush Tool ใช้ในการวาดเส้น
9. Clone Stamp Toolใช้ในการคัดลิกรูปโดยอาศัยรูปภาพต้นฉบับ
10. History Brush Toolใช้ในการกลับคืนรูปภาพเดิมจาก State ของรูปเดียวกัน
11. Eraser Toolใช้ในการลบรูปภาพหรือลบบางส่วน
12. Paint Bucker Tool ใช้ในการเติมสี Fill ในบริเวณที่เป็นสีเดียวกัน
13. Smudge Tool ใช้ในการดึงสีให้ไปใกล้เคียงกัน
14. Burn Tool ใช้ลดความสว่าง ทำให้ภาพดูมืดลง
15. Pen Tool ใช้ในการลากเส้น Path ซึ่งสามารถตัดโค้งตามรูปภาพได้
16. Type Tool ใช้ในการพิมพ์ตัวอักษร
17. Path Selection Tool ใช้เพื่อเลือก Shape หรือ path เพื่อแสดง Anchor Paint
18. Custom shape Tool ใช้เลือกรูปภาพ เลือกรูปภาพที่มีรูปร่างเฉพาะ
19. Animations tool ใช้เขียนโน้ต หรือแนบเสียงไปกับรูปภาพได้
20. eyedropper tool ใช้ในการดูดสีจากรูปภาพเพื่อใช้เป็นต้นแบบของสีกับงานชิ้นอื่นๆ
21. Hand Tool ใช้เลื่อนภาพที่อยู่หน้าต่างเดียวกัน
22. Zoom Tool ใช้ย่อ – ขยายภาพ

แบบฝึกหับทที่ 5 การประยุกต์ใช้งาน Photoshop Cs3
1. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้างปุ่มและอักษร 3 มิติ
1. สร้างไฟล์ขึ้นมาใหม่โดยไปที่เมนู File - New จากนั้นกำหนดขนาด ความกว้าง 300 pixels
ความสูง 135 pixels และความละเอียด 72 pixels/inch ชนิดเป็น RGB Colore พื้นเป็น White แล้วคลิกปุ่ม Ok
2. เลือกเครื่องมือ rectangular Tool แดรกเมาส์ตีกรอบสี่เหลี่ยม
3. ไปเลือกเครื่องมือ Gradient tool เลือกรายละเอียด รูปแบบการแสดงผล และ สีโดยเลือกสีเหลือง แล้วไล่เฉดสีจากเหลืองเข้มไปหาสีขาวจากนั้นไปแดรกเมาส์จากด้านซ้ายมาด้านขวา
4. ย่อเส้นปะเข้ามาอีก 10 จุด โดยไปที่เมนุ select – Modify – Contract ใส่ตัวเลข 10 pixels แล้วกดปุ่ม OK
5. แดรกเมาส์จากด้านขวามาด้านซ้าย ทำการยกเลือกโดยไปที่ Select – Deselect
6. ไปที่เครท่องมือ Type – tool เลือกสี Fore – ground สี แดง แล้วมาคลิกในปุ่มเพื่อพิมพ์ข้อความว่า 3D
แล้วย้ายข้อความมาไว้ตรงกลาง โดยเลือกชนิดอักษร Arial Black ขนาด 72 pt และเลือกสีเป็นสีแดง
7. ไปที่เมนู Layer – type – Convert to shape จะปรากฏกรอบรอบข้อความ จากนั้นไปที่เมนู Edit – Transform – Perspective แดรกเมาส์ที่มุมเพื่อปรับเปลี่ยนเป็นรุปทรงตามที่ต้องการแล้วกดปุ่ม Enter
8. ทำอักษรให้นุน โดยไปที่ Layer – Layer style – Bevel and Emboss
9. จากนั้นจะปรากฏรายละเอียดต่างๆ ให้เลือก ลองเลือกคลิก [/] เพื่อดูรูปแบบการแสดงผลแบบต่างๆ และเลือกสีตามต้องการ
10. เลือกเสร็จกด OK
2. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้างตัวอักษรลำแสง
1. ไปที่เมนู File – New จากนั้นกำหนดขนาด ความกว้าง 300 pixels และความละเอียด 72 pixels ชนิดเป็น RGB Color พื้นเป็น White แล้วคลิกปุ่ม OK
2. ไปที่เครื่องมือ paint แล้วเทสีเป็นสีดำ ( เลือกสีดำก่อน ) แล้วคลิกแถบเครื่องมือเพื่อสร้าง layer ขึ้นมาใหม่อีก 1 layer
3. จากนั้นคลิกที่เครื่องมือ Rounder Rectangle Tool และกำหนดสีโฟร์กราวน์เป็นสีขาวแล้วเลือกความโค้งมน Radius เป็น 15 แล้วคลิกสร้างรูปสี่เหลี่ยม
4. จากนั้นไปที่เครื่องมือ Type tool [ Horizontal type tool ] เลือกสีโฟร์กราวน์เป้นสีดำ แล้วพิมพ์ข้อความ ( เลือกชนิดอักษรและขนาดด้วย ) ซี่งจะปรากฏข้อความที่พิมพ์ ( เมื่อพิมพ์เสร็จแล้วกด Ctrl+Enter ) เมื่อกด Enter แล้วให้กดปุ่ม [Cirl+J ] เพื่อสร้างสำเนาเลเยอร์ขึ้นมาใหม่อีก 1 เลเยอร์
5. สร้างเงาให้โลโก้ โดยกดคีย์บอร์ด ( Ctrl + T ) จะปรากฏเส้นขอบรอบรูปเลเยอร์ที่เราเลือก แล้วคลิกด้านขวาขงเมาส์ เลือกเมนุ Flip - Vertical เพื่อกลับด้านของเลเยอร์ดังกล่าว ( จากนั้นกด Enter เพื่อให้ประมวลผล) แล้วย้ายลงมาข้างล่าง
6. เลือกเครื่องมือ Gradient tool และเลือกแถบสีเป็นโทนดำขาว จากนั้นคลิกที่ ปุ่ม Add Layer mark ซึ่งอยู่ทางด้านล่างของ Layer แดรกเมาส์ลงเป็นเส้นตรงจากบนลงล่าง
7. ทำการเก็บบันทึกไฟล์ประเภท JPEG
3.ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของเครื่องมือต่อไปนี้

1. เป็นตัวเชื่อมระหว่าง Layer
2. เป็นส่วนที่ใส่ Effecf เช่น แสง เงา
3. เป็นส่วนที่เพิ่มเติม Mak หรือ เพิ่ม Layer
4. เป็นส่วนที่ใช่ปรับค่าแสงความสว่าง ปรับค่าสี ความคมชัด
5. เป็นส่วนที่สร้าง Fonder สำหรับเก็บ Layer
6. เป็นเครื่องหมายการสร้าง Layer ขึ้นมาใหม่
7. เป็นปุ่มที่ใช้ลบ Layer ที่ไม่ต้องการ

แบบฝึกหัด บทที่ 6 การสร้างภาพเคลื่อนไหวใน photoshopCS3
13. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายของส่วนต่างและปุ่มต่างๆ


1. คือ เฟรม ที่ใช้แสดงลำดับภาพนิ่งแต่ละส่วน
2. คือ ตัวกำหนดเวลาในการแสดงผล(ยิ่งน้อย ยิ่งดูคลาสิก)
3. คือ ปุ่มควบคุมการวนซ้ำ ถ้า forever คือวนรอบไปเรื่อยๆ ถ้าวนรอบ 1 รอบใช้ Once
4. คือ ปุ่มควบคุม ที่ใช้แสดงตัวอย่างภาพ Animation หรือจะกระโดดไปที่เฟรมอื่นๆ ตามที่ต้องการก็ได้
5. คือ ปุ่มสร้างภาพ Animation อย่างต่อเนื่องที่โปรแกรมคำนวณเฟรมอยู่ระหว่างเฟรมเริ่มต้นและเฟรมสุดท้าย
6. คือ ปุ่มสร้างเฟรมใหม่ ซึ่งจะใช้เมื่อต้องการสร้างรูปแบบการเคลื่อนไหวใหม่ๆ เข้าไป
7. ปุ่มลบเฟรม เอาไว้ลบเฟรมที่ไม่ต้องการทิ้งไป

14. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการสร้างตัวอักษรเคลื่อนไหวแบบ Fade
1. เปิดไฟล์ภาพขึ้นมาโดยไปที่เมนู File---Open---จากนั้นไปเลือกชื่อไฟล์ที่ต้องการเปิดและ คลิก Open
2. กำหนดขนาดของภาพให้มีความกว้าง 444 Pixels จากนั้นไปเปิดไฟล์อื่นออกมาอีก 3 ไฟล์
และคัดลอกมาไว้ที่ไฟล์นี้
3. ไปเปิดที่เมนู Windows --- Animation และทำการ Duplicates Select Frames ขึ้นมาอีก 3 เฟรม
4. กด <> เพื่อเลือก frames ทั้งหมดจากนั้นตั้งเวลาโดยไปคลิกที่ปุ่มเฟรมสุดท้าย
5. จากนั้นคลิกที่เฟรมที่ 1 และคลิกเลยอร์ให้แสดงเฉพาะอันแรก
6. เฟรมที่ 2 ให้คลิกเลือกเลเยอร์แรกกับเลเยอร์ที่ 2 (เฟรมที่3 และ 4 ทำเหมือนกัน)
7. กำหนดเฟรมที่ 1 เพื่อจะให้แสดงผลแบบ Fade โดยคลิกที่เฟรมที่ 1 จากนั้นไปที่เครื่องมือ
Tweens Animation Frames เพื่อกำหนดให้แสดงผลและกำหนดจำนวนเฟรมเพิ่มอีก 7 เฟรม แล้วกด ok (การกำหนดจำนวนเฟรมยิ่งมาก ยิ่งทำให้การแสดงผลค่อยๆ แสดงผล)
8. กำหนดเฟรมที่ 2 เพื่อที่จะให้แสดงผลแบบ Fade โดยคลิกที่เฟรมที่ 2 จากนั้นไปที่เครื่องมือ
Tweens Animation Frames เพื่อกำหนดให้แสดงผลและกำหนดจำนวนเฟรมเพิ่มอีก 4 เฟรม และตอบ ok (การกำหนดจำนวนเฟรมน้อย จะทำให้การแสดงผลเร็วขึ้น)
9. กำหนดเฟรมที่ 3 เพื่อจะให้แสดงผลแบบ Fade โดยคลิกที่เฟรมที่ 3 จากนั้นไปที่เครื่องมือ
Tweens Animation Frames เพื่อกำหนดให้แสดงผลและกำหนดจำนวนเฟรมเพิ่มอีก 9 เฟรมตอบ ok (การกำหนดจำนวนเฟรมมาก จะทำให้การแสดงผลช้าขึ้น)
10. กำหนดเฟรมที่ 4 เพื่อจะให้แสดงผลแบบ Fade โดยคลิกที่เฟรมที่ 4 จากนั้นไปที่เครื่องมือ
Tweens Animation Frames เพื่อกำหนดให้แสดงผลและกำหนดจำนวนเฟรมเพิ่มอีก 3 เฟรมตอบ ok (การกำหนดจำนวนเฟรมมาก จะทำให้การแสดงผลช้าขึ้น)

15.ให้นักศึกษาอธิบายวีการสร้างการสร้าง Gallery ภาพถ่ายให้กับเว็บไซด์
1. สร้างโฟลเดอร์ไว้สำหรับเก็บไฟล์ที่ต้องการ
2. สร้างโฟลเดอร์ 400 pixels * 300 pixels แล้วเก็บไว้ในโฟลเดอร์ดังกล่าว
3. ไปที่เมนู File –Automate---Wed Photo Gallery…จะปรากฏหน้าจอ
4. เลือกรูปแบบหรือสไตล์ที่ชอบ (ซึ่งจะปรากฏตัวอย่างให้ดู) คลิกเลือกปุ่มโฟลเดอร์แหล่งของ ภาพที่สร้างไว้ (ข้อ1) คลิกเลือกเส้นทางที่จะเก็บที่สร้าง Gallery (จะต้องไม่ซ้ำกับโฟลเดอร์แหล่งภาพ) เลือกคุณสมบัติของของภาพ แล้วตอบ ok

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ขั้นตอนการทำตัวอักษรลำแสง

1. สร้างไฟล์ใหม่ ขนาด 500 pixis * 350 pixis และความละเอียด 100 pixeis/Inch และพื้นเป็นสีขาว
2. เลือกเครื่องมือ painat Tool เทสีดำลงในเลเยอร์ baqground และไปที่เครื่องมือ Type Toois เลือกฟอนด์ Arial ตัวหนาขนาด 29pt สีขาว แล้วพิมพ์ข้อความว่า KITTKHAN
౩. กดคีย์บอร์ด[Ctrl+J] เพื่อ Duplicate Layers จากนั้นเปลี่ยนสีตัวอักษรที่ layers kittkhan copyให้เป็น4.สีดำ ทำการซ่อน layer layer kittkhan copyจากนั้นคลิกรวมเลเยอร์ Blavkground และเลเยอร์ kittkhan copy[Ctrl+Eรวมเลเยอร์
5.ไปที่เมนุ Filter-Stylize-wind แล้วเลือก [/]wind[/] From the Right (เลเยอร์คลิกอยู่ที่ Blackground
6.กดคีย์บอร์ด[Ctrl+J]เพื่อ Duplicate Layers แล้วไปที่เมนู Filter - Stylize - Wind แล้วเลือก [/]Win และ [/] From The Left (เลเยอร์คลิกอยู่ที่ Blackground copy) ก้เป้นอันเสร็จ
7.เปิดไฟล์ภาพโดยไปที่เมนุ File - Open แล้วเลือกรุปแล้วใช้เมาสืคลิกที่รูปที่เลือกแล้วกด[Ctrl+V]เพื่อวางรุปภาพไว้ส่วนบนที่ต้องการเมื่อต้องการย้ายรุปภาพไปที่เครื่องมือ Move toot แล้วไปแดรกเมาส์ลากไปไว้ที่ที่ต้องการจากนั้นเมื่อ ต้องการย่อภาพใฟ้สมดุล Edit - Transform - Scaie เมื่อต้องการที่จะหมุนภาพไปที่เมนุ Edit - Transform Rotate แล้วนำเมาสืไปคลิกที่มุมภาพหมุนตามที่ต้องการแล้วกด Enter
8.เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการแบ่งออกมา File - Open เลือกชื่อไฟล์ กด OK
9.ไปที่เครื่องมือ Slice Toot จากนั้นดุรายละเอียดที่เครื่องมือ Fix Size (กำหนดความกว้าง 64 px และความสูง 125 px ให้คงที่)
10. นำเมาส์ไปคลิกที่ภาพจะปรากฏภาพขึ้น กรณีจะทำภาพค่อไปให้นำเมาส์ไปคลิกที่มุมบนด้านขวาดังภาพแล้วคลิกแดรกที่มุมบนไปเรื่อยๆ
11.เก้บข้อมูลโดยไปที่เมนู File - Save For Web and Device จากนั้นเลือกรุปแบบเป้น JEPG แล้วคลิกปุ่ม SAVE

วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552